วันอังคารที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ครั้งที่3


วันที่ 23 มกราคม 2561
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพ การ์ตูนเคลื่อนไหว
วันนี้อาจารย์ขึ้น💧บทที่ 2 ทฤษฏีที่เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย



👀ทฤษฎีพัฒนาการกับเด็กปฐมวัย

💥ทฤษฎีพัฒนาการด้านจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีพัฒนาการด้านจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการซิกมันด์ ฟรอยด์(Sigmond Freud) 
เป็นนักจิตวิทยาชาวออสเตรียที่มีความเชื่อว่าพัฒนาการบุคลิกภาพของคนขึ้นอยู่กับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานทางด้านสรีระ หรือที่เขาเรียกว่าแรงขับโดยสัญชาติญาณ

พัฒนาการบุคลิกภาพของคนขึ้นอยู่กับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานทางด้านสรีระ หรือที่เขาเรียกว่าแรงขับโดยสัญชาติญาณแรงขับโดยสัญชาติญาณ  แรงขับ ดังกล่าวมี 3 ประเภท ได้แก่ แรงขับทางเพศหรือความต้องการตอบสนองทางเพศ (libido) แรงขับหรือความต้องการที่จะมีชีวิตอยู่ (life-preserving drive) และแรงขับหรือความต้องการที่จะแสดงความก้าวร้าว (aggressive drive)

ทฤษฏีพัฒทฤษฏีพัฒนาการ
💦โครงสร้างหลักของบุคลิกภาพกับเด็ก
ปฐมวัยนาการ
อิด (Id) หมายถึง พลังหรือแรงผลักที่มีมาแต่กำเนิด เป็นสันดานดิบของมนุษย์ที่มีแต่ความต้องการสนองสนองแต่เพียงอย่างเดียวโดยไม่คำนึงถึงสิ่งใด ฟรอยด์เห็นว่าแรงผลักชนิดนี้มีอยู่ในทารก
  อีโก้ (Ego) เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างบุคลิกภาพที่ได้มีการคิดรวบรวมข้อมูลต่างๆ และมีการวางแผน การรู้จักรอคอย ร้องขอหรืออื่น ๆ เพื่อให้ได้รับการตอบสนองในสิ่งที่ต้องการ
  ซุปเปอร์อีโก้ (Superego) เป็นส่วนของบุคลิกภาพที่คอยควบคุมหรือปรับการแสดงออกของอิดและอีโก้ให้สอดคล้องกับเหตุผลความถูกผิด คุณธรรมหรือจริยธรรมกับเด็กปฐมวัยทฤษฏีพัฒนาการ
กับเด็กปฐมวัยทฤษฏีพัฒนาการ

💦ขั้นตอนของพัฒนาการด้านบุคลิกภาพ
กับเด็กปฐมวัยทฤษฏีพัฒนาการ
   ขั้นที่ 1 ขั้นปาก (Oral Stages) อายุแรกเกิด –18  เดือน
  ขั้นที่ 2 ขั้นทวารหนัก (Anal Stage) เป็นระยะพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กวัย 2 – 3 ปี
  ขั้นที่ 3 อวัยวะเพศขั้นต้น (Phallic Stage) เป็นระยะพัฒนาการบุคลิกภาพของวัย 3 – 5 ปี
  ขั้นที่ 4 ขั้นพัก/ขั้นแฝง (Latency Stage) เป็นระยะพัฒนาบุคลิกภาพของวัย 5 – 12 ปี
   ขั้นที่ 5 ขั้นอวัยวะเพศ (Genital Stage) เป็นระยะสนใจเพศตรงข้าม วัยรุ่น วัยหนุ่มสาว 12 ปี ขึ้นไป

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง


💥ทฤษฎีพัฒนาการด้านจิตสังคมของอีริคสันกั
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีพัฒนาการด้านจิตสังคมของอีริคสัน

          อีริค อีริคสัน(Erik H. Erikson)
เป็นนักจิตวิทยา  พัฒนาการที่มีชื่อเสียงและให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมมากมีแนวคิดว่าวัยเด็กเป็นวัยที่สำคัญและพร้อมเรียนรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัว
  วัยเด็กเป็นวัยที่สำคัญและพร้อมเรียนรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัว หากประสบการณ์และสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็กดี เด็กจะมองโลกในแง่ดี มีความเชื่อมั่นในตนเองในทางตรงกันข้ามหากประสบการณ์และสภาพแวดล้อมไม่ดีไม่เอื้อหรือส่งเสริมต่อการเรียนรู้ของเด็ก เด็กจะกลายเป็นคนมองโลกในแง่ร้าย ไม่ไว้วางใจผู้อื่น ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
💦ขั้นพัฒนาการตามทฤษฎีของอีริคสัน
ขั้นที่ 1 ความรู้สึกไว้วางใจ กับความรู้สึกไม่ไว้วางใจ
(Trust versus Mistrust) ช่วงแรกเกิด – 1 ปี
ขั้นที่ 2 ความรู้สึกเป็นตัวของตัวเอง กับความละอายใจ
และไม่แน่ใจ (Autonomy versus Doubt or Shame) ช่วง 1 – 2 ปี
ขั้นที่ 3 การมีความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด (Initiative
versus Guilt) ช่วง 3 – 6 ปี

บเด็กปฐทฤษฎีพัฒนาการด้านจิตสังคมของอีริคสัน
ได้แสดงให้เห็นถึงความต่อเนื่องของการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคล ตั้งแต่ทารกจนถึงวัยสูงอายุ  ทำให้เป็นแนวทางสำ คัญในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
โดยเฉพาะในวัยทารก ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของ
พัฒนาการในวัยต่อไป…”

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีพัฒนาการด้านจิตสังคมของอีริคสัน

มวัย💥ทฤษฎีวุฒิภาวะของกีเซล
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีวุฒิภาวะของกีเซล
อาร์โนลด์ กีเซล(Arnold Gesell) 
เป็นนักจิตวิทยาที่มีความเชื่อในเรื่องของความเจริญเติบโตตามวุฒิภาวะ โดยกล่าวว่า “วุฒิภาวะเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติอย่างมีระเบียบ โดยที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าภายนอก”
 “วุฒิภาวะเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติอย่างมีระเบียบ โดยที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าภายนอก” กีเซลเชื่อว่าพฤติกรรมของเด็กจะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา ซึ่งจะกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมขึ้น การฝึกฝนหรือการเรียนรู้ไม่ว่าลักษณะใดก็ตาม จะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์และเป็นการเสียเวลาโดยใช่เหตุ ถ้าหากร่างกายยังไม่พร้อมหรือยังไม่มีวุฒิภาวะ

 💦ขั้นพัฒนาการตามทฤษฎีของกีเซล
1. ทิศทางของการพัฒนาการ (development direction)
- Cephalocaudal - Proximal distal
  2. พัฒนาการมีความสัมพันธ์กันและเกี่ยวเนื่องกัน (reciprocal interweaving)
  3. พัฒนาการมีการใช้กิจกรรมร่วมกัน (functional asymmetry)
  4. การพัฒนาต่าง ๆ เป็นผลมาจากวุฒิภาวะ (individuating maturation)
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีวุฒิภาวะของกีเซล

💥ทฤษฎีพัฒนาการด้านการรู้คิดของเพียเจท์
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎี พัฒนาการ ด้าน การรู้คิด ของเพียเจต์

ฌอง เพียเจท์(Jean Piaget) 
นักจิตวิทยาชาวสวิสได้ทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กและพัฒนาการทางสติปัญญา
  พัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กและพัฒนาการทางสติปัญญา ตามแนวความคิดของเพียเจท์ ได้อธิบายถึงพัฒนาการทางความคิดและสติปัญญาในความเห็นของเขาว่า บุคคลสามารถคิด ดัดแปลงความคิดและแสดงความคิดของตนออกมาได้ ย่อมเป็นผลมาจากขบวนการปรับเข้าสู่โครงสร้าง (assimilation) และการจัดปรับขยายโครงสร้าง (accommodation) โดยผลของการทำงานดังกล่าวจะเกิดเป็นโครงสร้างขึ้น (schema)

💦แนวความคิดเกี่ยวกับขบวนการปรับเข้าสู่โครงสร้างและการจัดปรับขยายโครงสร้าง
Assimilation หมายถึง การที่เด็กนำเอาสิ่งที่ตนรับรู้ใหม่ๆ  เข้าไปผสมผสานกลมกลืนกับความรู้เดิมที่มีอยู่ ซึ่งการรับรู้นี้จะเกิดขึ้นเมื่อเด็กมองเห็นสิ่งใหม่ในแง่ของสิ่งเดิมที่เคยรู้จัก
Accommodation หมายถึง การนำความรู้ใหม่ที่ได้รับไปปรับปรุงความคิดให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
💦ทฤษฎีพัฒนาการด้านการรู้ของเพียเจท์
ขั้นที่ 1 ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
(Sensorimotor Stage) อายุแรกเกิด – 2 ปี
  ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการคิดอย่างมีเหตุผล (Preoperational Stage) อายุ 2 – 7 ปี แบ่งเป็นสองระยะ
  - ระยะที่ 1 ขั้นก่อนความคิดรวบยอด (Preconceptual Thought) อายุ 2 – 4 ปี
  - ระยะที่ 2 ขั้นคิดได้เองโดยไม่รู้เหตุผล (Intuitive Thought)อายุ 4 – 7 ปี
ทฤษฎีด้านสติปัญญาของเพียเจท์ ช่วยให้เข้าใจกระบวนการคิดของเด็ก ซึ่งเป็นกลไกการคิดที่มีความต่อเนื่อง เป็นขั้นตอน ตั้งแต่การเรียนรู้จากประสาทสัมผัส การเคลื่อนไหว เข้าใจในสิ่งที่เป็นรูปธรรม และไปสู่การคิดอย่างมีเหตุผล ในสิ่งที่เป็นนามธรรม พัฒนาการจะเป็นไปตามลำดับขั้นจะข้ามขั้นไม่ได้ แต่อัตราพัฒนาการอาจมีความแตกต่างกันในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน ซึ่งเป็นหลักทั่วไปของ
พัฒนาการทุก ๆ ด้านอยู่แล้ว …”
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎี พัฒนาการ ด้าน การรู้คิด ของเพียเจต์

💥ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก

ลอเรนซ์ โคลเบิร์ก(Lowrence Kohlberg
เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้ศึกษาค้นคว้าทางด้านพัฒนาการทางจริยธรรม ซึ่งได้รับอิทธิพลความคิดและผลงานมาจากเพียเจท์
  โดยโคลเบอร์กเห็นด้วยว่าพัฒนาการทางการคิดเป็นพื้นฐานของพัฒนาการทางจริยธรรมเช่นเดียวกับเพียเจท์ซึ่งพัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคลจะมีลำ ดับขั้นเช่นเดียวกับพัฒนาการด้านอื่น ๆ และมีแนวคิดว่าพัฒนาการทางจริยธรรมของแต่ละบุคคล จะแตกต่างกันและมีระยะเวลาของการพัฒนาในแต่ละขั้นต่างกัน
💦ขั้นพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก
ระดับขั้นที่ 1 Premoral หรือ Preconventional
วัย 2 – 10 ปี
  มี 2 ระยะ
  ระยะที่ 1 การหลบหลีกการถูกลงโทษ ช่วงอายุ 2 – 7 ปี
  ระยะที่ 2 การแสวงหารางวัล ช่วงอายุ 7 – 10 ปี
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก

💥ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิดความเข้าใจของบรุนเนอร์
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิดความเข้าใจของบรุนเนอร์

เจอโรม บรุนเนอร์ (Jerome.S.Bruner) 
ได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการทางการคิดและใช้เหตุผล (Cognitive) โดยอาศัยแนวคิดของเพียเจท์เป็นหลัก
💦พัฒนาการทางความคิดความเข้าใจ เกิดจากสิ่งต่อไปนี้
1. การให้เด็กทำสิ่งต่างๆ อย่างมีอิสระมากขึ้น
  2. การเรียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนสิ่งต่างๆ
  3. พัฒนาการทางความคิด
  4. ผู้สอนและผู้เรียนมีความสัมพันธ์กันอย่างมีระบบ
  5. ภาษาเป็นกุญแจของการพัฒนาด้านความคิด
  6. การพัฒนาทางความคิด
💦พัฒนาการทางสติปัญญาและการคิดของมนุษย์
  1. Enactive Stage
  2. Iconic representation Stage
  3. Symbolic representation stage
💦ลำดับขั้นการสอนอย่างมีเหตุผล
ขั้นที่ 1 การสอนควรเริ่มด้วยการให้ผู้เรียนสัมผัสสิ่งต่าง ๆ ที่เรียน
  ขั้นที่ 2 การสอนควรเน้นให้เด็กเกิดการพัฒนาขึ้นเพื่อให้เด็กได้รับรู้อย่างแจ่มแจ้ง ครูควรเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์หรือเลือกเหตุการณ์ที่เด่นชัดและเป็นรูปธรรมมากกว่านามธรรม
  ขั้นที่ 3 จัดให้มีการอภิปรายระหว่างเด็กในกลุ่มที่เรียนร่วมกันเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ เนื้อหาที่เรียนเพื่อให้เด็กใช้ภาษาและเกิดการพัฒนาขั้นรูปธรรม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิดความเข้าใจของบรุนเนอร์


   อาจารย์ให้นักศึกษาจับกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆกัน แล้วให้เลือกว่าจะทำเกี่ยวกับใครใน6นักทฤษฎี โดยให้นำเสนอในวันที่6 กุมภาพันธ์2561  พอแบ่งงานเสร็จอาจารย์เปิดละครฟ้ามีตา 2ตอน








                   ละครทั้ง2เรื่องนี้จะให้เนื้อหาเกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูก ซึ่งมีความแตกต่างกันออกไป

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เคลื่อนไหว น่า รัก ดุ๊ ก ดิ๊ ก


💨ประเมินอาจารย์
นำละครมาสอนได้ตรงประเด็น
💨ประเมินตนเอง
ได้เห็นในหลายแง่มุมของการเรียนการสอน
💨ประเมินเพื่อน
ตั้งใจ สนุกสนาน

  ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เคลื่อนไหว น่า รัก ดุ๊ ก ดิ๊ ก

ครั้งที่ 2


วันที่16มกรคม 2561

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพ เด็กปฐมวัย
วันนี้อาจารย์เริ่มสอนใน💧บทที่ 1 เด็กปฐมวัยและพัฒนาการ

💥ทฤษฎีพัฒนาการกับเด็กปฐมวัย -ความหมายของเด็กปฐมวัย
-ความสำคัญของเด็กปฐมวัย
-ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
-ความหมายของพัฒนาการ
-ลักษณะของพัฒนาการ
-ลักษณะทั่วไปของพัฒนาการเด็กปฐมวัย
-ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัย
💦เด็กปฐมวัย
เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปี มีธรรมชาติที่อยากรู้อยากเห็น ช่างสงสัย ช่างซักถาม ชอบค้นคว้า สำรวจ อยู่ไม่นิ่ง ชอบอิสระเป็นตัวของตัวเอง เป็นวัยที่กำลังพัฒนาคุณภาพชีวิตทางร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญาอย่างเต็มที่


เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปี       มีธรรมชาติที่อยากรู้อยากเห็น ช่างสงสัย ช่างซักถาม ชอบค้นคว้า สำรวจ อยู💦คความสำคัญของเด็กปฐมวัย
ความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย จำเป็นต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดู และการเรียนรู้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับวัย ด้วยการจัดประสบการณ์และการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยให้เด็กได้พัฒนาตามศักยภาพของตน เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข แลเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีมีคุณภาพ สามารถดำรงวิถีชีวิตในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจยุคใหม่ได้อย่างรู้เท่าทันป็นตัวของตัวเอง เป็นวัยที่กำลังพัฒนาคุณภาพชีวิตทางร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญาอย่างเต็มที่ทฤษทฤษฏีพัฒนาการ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพ เด็กปฐมวัย
ความ💦ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
• ไม่รู้ว่าความคิดความรู้สึกของตนต่างไปจากของผู้อื่น
• ชอบเลียนแบบบุคคลที่ตนรัก หรือตนสนใจ
• มีความอยากรู้อยากเห็นสูง
• มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์กับสิ่งที่ตนเองเล่น
• พยายามเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับเพื่อนเล่น

💦ความหมายของพัฒนาการ
พัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ที่เป็นไปอย่างมีลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาซึ่งมีความสัมพันธ์ระหว่าง เวลา วุฒิภาวะ การเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อม อันส่งผลให้มนุษย์มีความสามารถและพฤติกรรมที่แตกต่างกัน และเป็นไปตามศักยภาพมวัย

ฏีพัฒนาการ💦ลักษณะของพัฒนาการ
1. พัฒนาการเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน
2. การพัฒนาจะมีทิศทางของพัฒนาการที่แน่นอน

กับเด็กป💦ลักษณะทั่วไปของพัฒนาการเด็กปฐมวัย

1. เกิดจากองค์ประกอบภายในร่างกาย (internal factors) 
  1.1 พันธุกรรม (heredity)
  1.2 วุฒิภาวะ (maturation)
2. เกิดจากองค์ประกอบภายนอกร่างกาย (external factors)
💦ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัย
1. อาหาร
  2. อากาศที่บริสุทธิ์และแสงแดด
  3. เชื้อชาติ
  4. เพศ
  5. ต่อมต่าง ๆ ของร่างกาย
  6. สติปัญญา
  7. การบาดเจ็บและโรคภัยไข้เจ็บ
  8. ตำแหน่งในครอบครัว

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพ เด็กพิเศษ
💦ความหมายและลักษณะของเด็กพิเศษ
คำว่า เด็กพิเศษ หรือ Children With Special Need หมายถึงเด็กที่มีลักษณะหรือความต้องการพิเศษ ยังมีคำภาษาไทยใช้กันอยู่หลายคำ คือเด็กนอกระดับ เด็กผิดปกติ เด็กพิการ เด็กอปกติ แต่คำที่ใช้บ่อย และถือเป็นสากลก็คือคำว่า “เด็กพิเศษ
💦ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะความสามารถสูง
  2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
  ด้วยความสามารถหรือมีปัญหา ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กที่มีการเรียนรู้ช้า ตลอดจนการพัฒนาด้านต่าง ๆ เทียบไม่ได้กับเด็กในระดับเดียวกัน และในกลุ่มเด็กบกพร่องนี้ จะมีปัญหาในเรื่องพฤติกรรมตามมา
💧พัฒนาการของเด็กปฐมวัยตั้งแต่ปฏิสนธิถึง 6 ขวบ
💫พัฒนาการของเด็กปฐมวัยตั้งแต่ปฏิสนธิถึง 6 ขวบ
💫การเจริญเติบโตของทารกตั้งแต่ปฏิสนธิถึงแรกเกิดของเด็กปฐมวัย
💫การเจริญเติบโตของเด็กแรกเกิดถึง 6 ขวบ
💫พัฒนาการของเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 ขวบ
💫พัฒนาการตามวัยของเด็กปฐมวัย
💫ความต้องการของเด็กปฐมวัย
💞การเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยตั้งแต่ปฏิสนธิถึงแรกเกิด


💨การปฏิสนธิ
การปฏิสนธิ คือ การผสมของอสุจิซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อ กับเซลล์ของแม่คือไข่ รวมเป็นเซลล์เดียวกันเกิดการปฏิสนธิ (Conception) เกิดเป็นเซลล์เล็กกว่าไข่ใบเดิมมีขนาด 0.15 มิลลิเมตร ซึ่งเล็กกว่าจุด นั่นคือจุดเริ่มต้นของชีวิต
💣การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์แบ่งเป็น 3 ระยะ                                                                           
 1. ระยะไข่ (Ovum) ตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึง 14 วัน                                                                                                                                                  2. ระยะลูกอ่อน (Embryo) ตั้งแต่ 2 สัปดาห์ถึง 2 เดือน
  3. ระยะเด็กอ่อน (Fetus) ตั้งแต่ 2 เดือนถึง 9 เดือน




💨ความต้องการของเด็กปฐมวัย
1. ความต้องการด้านร่างกาย
  2. ความต้องการด้านอารมณ์
  3. ความต้องการด้านสังคม
  4. ความต้องการด้านสติปัญญา






อาจารย์ให้ชมคลิปวีดีโอและอาจารย์ก็ได้อธิบายประกอบไปด้วย
-คลอดแบบปกติ
-คลอดแบบผ่า
-คลอดแบบถุงน้ำคล่ำออกมาด้วย



รูปภาพที่เกี่ยวข้อง





💧ประเมินอาจารย์
ให้ความรู้ที่เข้าใจง่าย
💧ประเมินตนนเอง
เข้าใจ แต่ไม่ใช่ทั้งหมด
💧ประเมินเพื่อน
ตั้งใจในนการเรียนครั้งนี้มาก


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพ เคลื่อนไหว น่า รัก มาก